The smart Trick of โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ That Nobody is Discussing

แพทย์จะฝังตัวคุมจังหวะหัวใจบริเวณหน้าอกใกล้กระดูกไหปลาร้าและติดสายพร้อมขั้วไฟฟ้าจากตัวคุมจังหวะหัวใจผ่านเส้นเลือดไปยังด้านในของหัวใจ หากเครื่องตรวจพบการเต้นหัวใจที่ช้า เครื่องจะส่งกระแสฟ้าเข้าไปกระตุ้นการเต้นของหัวใจ แพทย์มักแนะนำตัวคุมจังหวะหัวใจให้ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นช้ากว่าปกติที่อาการไม่ดีขึ้นที่ไม่มีสาเหตุที่สามารถแก้ไขได้

   หัวใจสามารถเริ่มเต้นได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา การที่หัวใจสามารถเต้นได้นั้น หลายคนอาจไม่รู้ว่าหัวใจของคนเราทำงานอย่างไร วันนี้ทางโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์จึงขออธิบายไว้ ณ ตรงนี้ว่า หัวใจของคนเรานั้น สามารถส่งกระแสไฟฟ้าได้ แถมยังสามารถที่จะสร้างขึ้นเองได้อีกด้วย โดยส่งกระแสไฟฟ้าจากหัวใจห้องขวาบน มายัง หัวใจห้องซ้ายบน และห้องล่าง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไป จะไปกระตุ้นให้กล้ามเนื้อหัวใจ ให้เกิดการบีบตัวไล่เลือด เลือดจึงไหลอย่างมีระบบระเบียบ ดังนั้น หากระบบไฟฟ้าผิดปกติไป ไม่ว่าจะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม ก็จะชักนำให้เกิดการเต้นที่ผิดจังหวะ ผิดปกติ ซึ่งบางครั้งรุนแรงมาก จนทำให้เสียชีวิตนั่นเอง

สมทบทุนกองทุน ฯพณฯ องคมนตรี มล.ทวีสันต์ ลดาวัลย์

เป็นลมหมดสติ ร่างกายอ่อนเพลีย : เกิดจากหัวใจเต้นช้าหรือเร็วกว่าปกติ ทำให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะสมองและหัวใจทำให้มีอาการหน้ามืด เป็นลม

โดยเมื่อเกิดความผิดปกติ ตัวไซนัส โนดนี้จะส่งสัญญาณไฟฟ้าออกมา แต่สัญญาณบางส่วนจะถูกส่งผ่านอย่างต่อเนื่องไปรอบๆ หัวใจห้องบนขวา ทำให้หัวใจห้องบนหดตัวเร็วขึ้น และส่งผลให้อัตราการเต้นของหัวใจเร็วขึ้นกว่าเดิม

“ดวงจันทร์แกนีมีด” ดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ

ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะบางประเภทป้องกันได้ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้หัวใจแข็งแรงขึ้น และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ เพียงปฏิบัติตามแนวทางดังต่อไปนี้

เป็นการส่งกระแสไฟฟ้าแรงสูงผ่านขั้วไฟฟ้าวางที่หน้าอกไปกระตุกหัวใจให้กลับเป็นจังหวะปกติโดยเร็ว มักใช้กับผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะบางชนิดที่ใช้ยาแล้วไม่ได้ผล โดยเฉพาะที่ไม่มีอาการรุนแรง เช่น ความดันโลหิตต่ำ แน่นหน้าอก เหนื่อยง่าย หัวใจล้มเหลวร่วมด้วย ซึ่งเป็นการฟื้นฟูการเต้นของหัวใจด้วยด้วยการส่งกระแสไฟฟ้าผ่านหน้าอก

การพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องกระตุ้นหัวใจแบบใหม่

นอกจากนี้ยังสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชันที่ช่วยในการวัดและคำนวนอัตราการเต้นของชีพจร สามารถค้นหาจากคำสำคัญ เช่น “ชีพจร” หรือ “coronary heart level” เป็นวิธีที่ใช้วัดอัตราการเต้นของชีพจร ที่สะดวกในการใช้งาน

ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะคืออะไร? ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ คือ การที่หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะตามธรรมชาติ โดยอาจเต้นเร็วเกินไปหรือช้าเกินไป ซึ่งเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าในหัวใจหรือเกิดไฟฟ้าลัดวงจรในห้องหัวใจ ทำให้การสูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร และอาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีภาวะเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวหรือหลอดเลือดสมองอุดตันเพิ่ม มากขึ้น

แพทย์จะวินิจฉัยจากอาการของผู้ป่วย โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ ประวัติทางการแพทย์ และการตรวจร่างกาย เพื่อตรวจสอบจังหวะการเต้นของหัวใจเบื้องต้น หรืออาจทดสอบเพื่อหาปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ เช่น โรคหัวใจ ปัญหาการทำงานของต่อมไทรอยด์ เป็นต้น โดยแพทย์อาจมีแนวทางในการวินิจฉัยดังต่อไปนี้

ส่วนในกลุ่มบุคลทั่วไปที่ยังไม่เป็นโรคหัวใจหรือยังไม่มีความเสี่ยงใดๆ ที่จะเกิดภาวะนี้ วิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันก็คือ พยายามลดความเสี่ยงไม่ให้ตนเองเป็นโรคหัวใจ โดยการปรับการใช้ชีวิตให้มีสุขภาพที่ดี เช่น รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป และเลิกสูบบุหรี่

ข้อมูลเกี่ยวกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *